|
Complex Problem Solving (เทคนิคการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน) |
|
รายละเอียด: วัตถุประสงค์
- พัฒนาทักษะการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน โดยใช้แนวคิดและเครื่องมือเชิงระบบ เพื่อให้สามารถจัดการปัญหาได้อย่างครอบคลุมและเกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ
- เสริมสร้างความสามารถในการตัดสินใจ ในสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน พร้อมทั้งวางแผนและบริหารจัดการปัญหาได้อย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
- ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์และตรงจุด ช่วยลดความเสี่ยงของปัญหาซ้ำซ้อน และส่งเสริมความมั่นคงของระบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน
เหมาะสำหรับ
- Officer
- Supervisor
- Manager
ระยะเวลา: 2 วัน
รุ่น 1: วันที่ 23-24 เมษายน 2568
รุ่น 2: วันที่ 6-7 สิงหาคม 2568
รุ่น 3: วันที่ 17-18 ธันวาคม 2568
หัวข้อ
Day 1
Part I กิจกรรมส่งเสริม Mindsets ที่ช่วยขับเคลื่อนการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน
1.) เรียนรู้ Mindsets ขับเคลื่อนการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ได้แก่ ค้นหาความคิดหรือแนวทางที่ไม่คุ้นเคย และแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์ (exploration) เข้าใจความต้องการของผู้ใช้หรือความกังวลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (empathetic curiosity) และ การทดลองค้นหาวิธีการที่หลากหลาย ด้วยการตั้งสมมติฐาน และเรียนรู้จากความล้มเหลว (experimentation).
2.) เรียนรู้ การจัดการกับความผิดพลาดในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ได้แก่ การทำให้ปัญหาง่ายเกินไป การวิเคราะห์ที่เยอะเกินไป และการแก้ปัญหาที่เร็วเกินไป
3.) เรียนรู้การนำแนวคิด Play & Rigor เป็นเครื่องมือกำหนดแนวทางจัดการในสถานการที่ซับซ้อน และเกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
Part II กิจกรรมการจัดการสถานการณ์ซับซ้อนเชิงระบบ
เรียนรู้กระบวนการคิดที่มีคนเป็นศูนย์กลางของระบบ (Human-Centered Systems Thinking)
การประเมินสถานการณ์ซับซ้อน
Part III กิจกรรมการกำหนดขอบเขตปัญหาอย่างชัดเจน
เรียนรู้ 1.) นิยามปัญหา และ ความแตกต่างระหว่างการแก้ปัญหาปกติ และปัญหาที่ซับซ้อน
2.) การมองปัญหาซับซ้อนเชิงระบบ ด้วยแนวคิดภูเขาน้ำแข็ง และ การเขียนแผนภาพวงจร Casual Loop Diagram เพื่อระบุปัญหาเชิงระบบ
3.) การสร้าง systems map และการเก็บข้อมูลผู้เกี่ยวข้องในระบบ เพื่อทำความเข้าใจความต้องการ และความเชื่อ ในหลากหลายมุมมอง และระบุขอบเขตปัญหาซับซ้อน
Day 2
Part IV กิจกรรมการออกแบบแนวทางแก้ไขปัญหาซับซ้อน
เรียนรู้แนวทางแก้ปัญหาซับซ้อน ได้แก่ การแก้ไขตรงปัจจัยต้นเหตุ และการออกแบบระบบเพื่อหยุดการขยายตัวของปัญหา
เรียนรู้การนำหลักการ Play กระบวนการคิดสร้างสรรค์ และการนำเสนอไอเดียแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
การออกแบบขั้นตอนทำงานทั้งระบบ เพื่อแก้ปัญหาซับซ้อน
Part V กิจกรรมการทดสอบ และปรับปรุงแนวทางแก้ไขปัญหาซับซ้อน
การพัฒนาต้นแบบ และทดสอบ
การสร้างฉากทัศน์ในอนาคต เพื่อทดสอบไอเดีย
เรียนรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อการคิดเชิงระบบ ด้วยแนวคิด Two System Thinking
การนำเสนอการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน ด้วยเทคนิคการ การเล่าเรื่อง
การสร้างบรรยากาศการคิดร่วมกัน co-creation sessions, mock pitches และหลักการท้าทายแนวคิดเดิม (boundary concepts.) |
ภาพที่เกี่ยวข้อง |

|
*คลิกที่ภาพเพื่อดูภาพขนาดจริง |
|
|
|
|
|
|
ข้อมูลเจ้าของประกาศ |
ชื่อ:
ftpi
|
เบอร์โทรศัพท์:
026195500 |
อีเมล์: training@ftpi.or.th |
โทรศัพท์มือถือ: |
สถานที่ติดต่อ: ฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
โทรศัพท์ 02-619-5500 ต่อ 452, 456
E-mail : training@ftpi.or.th |
จังหวัด:
กรุงเทพมหานคร |
วันที่่ลงประกาศ: 10 มีนาคม 2568 |
วันประกาศหมดอายุ: 10 เมษายน 2568 |
อ่าน:
247 | ตอบ: 0 |
IP: 1.47.25.xxx |
|
|
|
แก้ไขประกาศ แจ้งลบประกาศ
ต่ออายุประกาศ
|
[แสดงความคิดเห็นต่อประกาศนี้] |
|
ชุบกัลวาไนซ์ |